ความรู้

Remove custom post type slug
Remove custom post type slug

การนำ Custom Post Type Slug ออกจาก WordPress Permalink

โดยปกติแล้ว เมื่อเราทำการสร้างธีมของเราขึ้นมาและต้องการสร้าง Custom Post Type เพื่อใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นเช่น เราสร้าง Custom Post Type ชื่อ book ...

การนำ Custom Post Type Slug ออกจาก WordPress Permalink อ่านต่อ

มาทำความรู้จัก Robots.txt กันดีกว่า 1

มาทำความรู้จัก Robots.txt กันดีกว่า

วันนี้เรามารู้จักไฟล์ robots.txt กันหน่อยดีกว่านะครับ ไฟล์นี้จะทำหน้าที่ในการอนุญาต หรือไม่อนุญาตให้ บอทหรือโปรแกรมเก็บข้อมูลของ Search Engine เช่น Go ...

มาทำความรู้จัก Robots.txt กันดีกว่า อ่านต่อ

สร้างเว็บไซต์

การสร้างเว็บไซต์ด้วยตนเอง (Creating your website by yourself)

การสร้างเว็บไซต์เป็นของตนเอง ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลที่ต้องการสร้างเว็บขายของออนไลน์ (Ecommerce website) ในบทความนี้จะพูดถึงวิธีทำเว็บไซต์เบื้องต้นกันนะครับ

การสร้างเว็บไซต์ด้วยตนเอง (Creating your website by yourself) อ่านต่อ

LiveReload on Sublime Text 3

การติดตั้ง LiveReload บน Sublime Text 3

LiveReload คือแพ็กเกจตัวหนึ่งบน Sublime Text 3 ที่จะช่วยให้เราทำงานในการเขียนเวบไซต์ได้ง่ายขึ้น โดยเมื่อเราเขียนโค๊ดสร้างเวบไซต์แล้วทำการบันทึก เบราเซอร์ของเราจะทำการเปลี่ยนแปลงค่าให้โดยอัตโนมัติในรูปแบบ Live แพ็กเกจนี้จะทำหน้าที่อัพเดททั้งในส่วนของ HTML และ CSS วิธีการใช้งานนั้นเราจะต้องทำการติดตั้งโปรแกรมดังกล่าวทั้งบน Sublime Text 3 และบนเบราเซอร์เพื่อเชื่อมต่อการทำงานถึงกัน

การติดตั้ง LiveReload บน Sublime Text 3 อ่านต่อ

WordPress 4.7

เวิร์ดเพรสเวอร์ชั่น 4.7

ในปี 2017 ที่ใกล้จะถึงนี้ เป็นประจำทุกปีเวิร์ดเพรสจะทำการอัพเดทเวอร์ชั่นใหม่พร้อมให้ธีมประจำปีกับผู้ใช้เวิร์ดเพรสทั่วโลก ปีนี้ก็เช่นกันเวิร์ดเพรสได้ทำการอัพเดทเวอร์ชั่นปัจจุบันเป็น 4.7 เราไปดูกันว่าเวิร์ดเพรสเวอร์ชั่นนี้ให้อะไรบ้างครับ

เวิร์ดเพรสเวอร์ชั่น 4.7 อ่านต่อ

child-theme-3

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 3

กลับมาสู่เนื้อหาการใช้ธีมลูกกันต่อนะครับ หลังพักหยุดยาวไปสามวัน ฮ่าๆ เรามาเริ่มต้นกันข้อที่ 3 เลยครับ การนำเมนูออกจากธีมหลัก เราสามารถนำออก (Remove) ออกได้ ด้วยฟังก์ชั่นที่ชื่อว่า unregister_nav_menu() โดยให้ทำการใส่รหัสของเมนู (Menu ID) ที่ธีมเราสร้างขึ้นมาเป็นพารามิเตอร์ของฟังก์ชั่นนี้ ยกตัวอย่างเช่น ตามโค๊ดธีมหลักของเรามีเมนูที่ลงทะเบียนไว้ชื่อ Header Menu

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 3 อ่านต่อ

แก้ไข theme wordpress

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 2

การใช้งานธีมลูกนั้น เราสามารถแก้ไขไฟล์ได้ใน 3 ลักษณะด้วยกัน ได้แก่ การแก้ไขไฟล์ style.css การแก้ไขไฟล์หลัก เช่น header.php, footer.php ต่างๆ และการแก้ไขไฟล์ functions.php อันดับแรกการแก้ไขไฟล์ style.css จากบทความที่แล้ว เมื่อเราทำการแนะนำให้ธีมลูก (Child Theme) ของเราได้รู้จักกับไฟล์ style.css ของธีมหลัก (Parent Theme) แล้ว เราก็สามารถแก้ไขไฟล์ดังกล่าวในธีมลูกได้เป็นปกติ

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 2 อ่านต่อ

child-theme-1

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 1

ธีมลูก (Child Theme) คือ ธีมที่มีฟังก์ชั่นการใช้งานที่ได้มาจากธีมแม่ (Parent Theme) มีไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับเปลี่ยนแก้ไขธีมที่ใช้อยู่ ถ้าเราปรับเปลี่ยนธีม (Parent Theme) แบบตรงๆ และเมื่อธีมนั้นได้รับการอัพเดท ค่าการปรับแต่งหรือฟังก์ชั่นต่างๆ ที่เราได้สร้างมาในธีมนี้จะหายและสูญเสียไป แต่หากเราใช้ธีมลูก (Child Theme) ในการปรับแต่งจะทำให้ค่าและฟังก์ชั่น ต่างๆ จะยังคงอยู่

การใช้งานธีมลูก (Child Theme) ตอนที่ 1 อ่านต่อ

สอบถามผ่านทาง Line QR Code qr-code.png